วันศุกร์ที่ 29 กรกฎาคม พ.ศ. 2559

คู่มือเตรียมสอบ

คู่มือเตรียมสอบ

ผลงานลูกค้า



เปิดสอบ ราชการ งานราชการ หางาน สอบราชการ พนักงานราชการ สอบบรรจุ หางาน รับสมัครงาน สอบ กพ. อบต. สอบภาค ก สอบภาค ข รับสมัครงาน ศูนย์รวมงานราชการ
ศูนย์หนังสือสอบ sheetchula เป็นที่รวบรวมแนวข้อสอบรับราชการ ทุกหน่วยงาน และนี่คือผลงาน ความคิดเห็นของลูกค้าที่ซื้อข้อสอบจากเราไป บางส่วน

1
2
3
4
5
6
7
8

บริการต่างๅ

บริการต่างๆ

บริการต่างๆ

ติดตาม Facebook

Youtube

แนวข้อสอบสำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ สวทช




รายละเอียดวิชาที่สอบ #
แนวข้อสอบสำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ สวทช
1. ความรู้เกี่ยวกับสำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ
2. สรุปสาระสำคัญของประชาคมอาเซียน
3. แนวข้อสอบความรู้การเมือง การเมือง เศรษฐกิจ สังคม ประชาคมอาเซียน
4. แนวข้อสอบวิชาภาษาอังกฤษ การใช้ Grammar
5. แนวข้อสอบการใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์สำนักงาน
6. เทคนิคการสอบสัมภาษณ์

+++ อ่านประกาศเพิ่มเติม และลิ้งค์สมัครที่ http://www.งานราชการไทย.com/
+++ กดติดตามรับข้อสอบที่ : http://line.me/ti/p/%40awr8388d
+++ กดถูกใจเพื่อรับแนวข้อสอบ
สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ สวทช
ที่ https://www.facebook.com/1716536435275058

แนวข้อสอบ

แนวข้อสอบ

ความรู้ทั่วไป

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท. หรือ IPST) เป็นหน่วยงานในกำกับของกระทรวงศึกษาธิการ[2] มีหน้าที่หลักในการพัฒนาขีดความสามารถในด้านการศึกษาวิชาวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ และคอมพิวเตอร์ของครู และเยาวชนไทย

ประวัติ

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.) จัดตั้งขึ้นเมื่อวันที่ 18 มกราคม พ.ศ. 2515 โดยประกาศคณะปฏิวัติ ฉบับที่ 42 ลงวันที่ 16 มกราคม พ.ศ. 2515 [3] ภายใต้ความร่วมมือและการสนับสนุนทั้งด้านงบประมาณและผู้เชี่ยวชาญจากโครงการพัฒนาแห่งสหประชาชาติ(UNDP) ปัจจุบันเป็นหน่วยงานในกำกับกระทรวงศึกษาธิการ ตามพระราชบัญญัติสถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี พ.ศ. 2541 แก้เพิ่มเติม (ฉบับที่ 2 ) พ.ศ. 2548[4]

กิจกรรมและผลงานด้านวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์และเทคโนโลยี

ด้านส่งเสริม ค้นคว้าวิจัยหลักสูตร วิธีสอน

จัดทำมาตรฐานการเรียนรู้ และคู่มือการจัดการเรียนรู้ กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์และเทคโนโลยีที่สอดคล้องตามหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. 2544

ด้านการส่งเสริม พัฒนาและฝึกอบรมครู นักเรียนและบุคลากรทางการศึกษา

จัดอบรมครูโรงเรียนทั่วปรเทศโดยมีรูปแบบการอบรม 3 รูปแบบ คือ อบรมแบบ face to face อบรมโดยส่งสื่อเอกสาร อบรมครูทางไกลผ่านดาวเทียม ร่วมกับมูลนิธิการศึกษาทางไกลผ่านดาวเทียมและสถานีวิทยุโทรทัศน์เพื่อการศึกษา (ETV) ของกระทรวงศึกษาธิการ และอบรมผ่านอินเทอร์เน็ต นอกจากนี้ยังส่งเสริมให้มีการจัดประชุมวิชาการร่วมกับหน่วยงานการศึกษาต่าง ๆ

ด้านการค้นคว้า ปรับปรุงเอกสาร สื่อและอุปกรณ์การศึกษา

จัดทำหนังสือเรียน คู่มือครู เอกสารอบรมครู ชุดการสอน เอกสารเสริมความรู้วิชาวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ และเทคโนโลยี ซีดีรอม หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ และบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน โปสเตอร์ เกมและภาพประกอบการเรียนการสอน แผ่นภาพโปร่งใส วีดิทัศน์ และต้นแบบอุปกรณ์การทดลองทางวิทยาศาสตร์

ด้านการประเมินมาตรฐาน

งานพัฒนาคู่มือการจัดการเรียนการสอนวิชาวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์ พัฒนาเครื่องมือทดสอบสัมฤทธิ์ผล สมรรถภาพ เจตคติและจิตวิทยาศาสตร์ Metacognition รวมทั้งการทดสอบมาตรฐานด้วยแบบทดสอบและด้วยวิธีการทดสอบแบบออนไลน์

การส่งเสริมเทคโนโลยีสารสนเทศในการศึกษา

  • ดำเนินการส่งเสริมการใช้งานด้านต่างๆ ได้แก่ โครงการวิทยาศาสตร์โลกทั้งระบบเพื่อสิ่งแวดล้อมโลก (GLOBE) ประสานงานกับมหาวิทยาลัยต่างๆ ทุกภูมิภาคของประเทศ 40 แห่ง
  • จัดตั้งศูนย์ให้การอบรมใช้โปรแกรม The Geometer's Sketchpad (GSP) โดย สสวท. จัดเตรียมวิทยากรและหลักสูตรให้เพื่อส่งเสริมครูคณิตศาสตร์ในการใช้เทคโนโลยีจัดการเรียนการสอนคณิตศาสตร์ในทุกช่วงชั้น โครงการ SMaRT School เป็นโครงการที่นำ ICT มาช่วยในการเรียนการสอนวิชาการออกแบบและเทคโนโลยี เช่น การสืบค้นข้อมูล การสร้างชิ้นงาน และการนำเสนอผลงาน โดยมุ่งเน้นให้ผู้เรียนเกิดความคิดสร้างสรรค์ การแก้ไขปัญหาอย่างมีระบบ และมีทักษะในการทำงาน ผ่านการทำโครงงาน เพื่อใช้ในการแก้ปัญหาในชีวิตประจำวันได้ โครงการพัฒนาสื่ออิเล็กทรอนิกส์สู่สถานศึกษา เช่น Learning Object, E-Learning เป็นต้น

การสร้างเครือข่ายความร่วมมือเพื่อพัฒนาการศึกษา

ร่วมมือกับสถาบันอุดมศึกษาพัฒนาโรงเรียนแกนนำของ สสวท. ด้านวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์และเทคโนโลยี ด้านการวิจัยและพัฒนาการเรียนการสอนรวมทั้งนำผลงานดีเด่นมาเผยแพร่เพื่อการส่งเสริมและพัฒนาครูทั่วภูมิภาค ร่วมมือกับกองบัญชาการตำรวจตระเวนชายแดนเพื่อพัฒนาโรงเรียน ตชด. และโรงเรียนในท้องถิ่นทุรกันดาร ให้สามารถจัดทำหลักสูตรการเรียนการสอนที่สอดคล้องกับความต้องการของท้องถิ่น สร้างเครือข่ายความร่วมมือกับต่างประเทศเพื่อพัฒนาบุคลากรของ สสวท. และบุคลากรทางการศึกษาในด้านวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์และเทคโนโลยี ร่วมมือกับโรงเรียนใน 175เขตพื้นที่การศึกษาจัดทำแหล่งเรียนรู้เพื่อการเรียนการสอน ร่วมมือกับโรงเรียนเตรียมทหารจัดสร้างแหล่งเรียนรู้ เช่น สวนพฤกษศาสตร์ ธรณีวิทยา

การวิจัยด้านการศึกษา

จัดทำโครงการวิจัยร่วมกับนานาชาติ ได้แก่โครงการ TIMSS 2007 โครงการ PISA โครงการ SITES 2007

การพัฒนาและส่งเสริมความเป็นเลิศทางคณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

การส่งเสริมและเผยแพร่ความรู้สำหรับประชาชน

จัดทำข่าว บทความผลงานของ สสวท. บทความเยาวชน เผยแพร่ความรู้สู่สาธารณชน รายการเพื่อส่งเสริมวัฒนธรรมทางวิทยาศาสตร์ สถานีโทรทัศน์แห่งประเทศไทยช่อง 11 นิตยสาร สสวท. นิทรรศการผลงานของ สสวท. เพื่อให้บริการทางวิชาการแก่สังคม เทศกาลภาพยนตร์วิทยาศาสตร์เพื่อการเรียนรู้ เผยแพร่ความรู้ด้านวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ และเทคโนโลยีทางสถานีวิทยุและโทรทัศน์ทั่วประเทศ

แหล่งข้อมูลอื่น

แนะนำการสอบ

คำแนะนำในการสอบสำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ สวทช.
สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช. หรือ NSTDA) เป็นหน่วยงานในกำกับของกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มีหน้าที่พัฒนาขีดความสามารถด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี โดยดำเนินกิจกรรมด้านถ่ายทอดเทคโนโลยี การพัฒนาบุคลากร และการเสริมสร้างโครงสร้างพื้นฐานทางวิทยาศาสตร์ ก่อตั้งขึ้นตามมาตร 11 แห่งพระราชบัญญัติพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ พ.ศ. 2534
ในการสอบเข้าสำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ  ไม่ต้องใช้ใบสอบผ่านภาค  ก ของ ก.พ.  การสอบเข้า สวทช. จะมีการประเมินสมรรถนะอยู่  2  ครั้ง   คือ  ครั้งที่  1  โดยการสอบข้อเขียน   ครั้งที่  2  โดยการสัมภาษณ์  และจะต้องผ่านการประเมินสมรรถนะครั้งที่ 1 โดยวิธีการสอบข้อเขียนก่อนและเมื่อผ่านการประเมินสรรถนะครั้งที่ 1 แล้ว จึงจะมีสิทธิ์เข้ารับการประเมินสมรรถนะครั้งที่  2 โดยวิธีสอบสัมภาษณ์  ทั้งนี้จะต้องได้คะแนนสอบข้อเขียนไม่ต่ำกว่าร้อยละ  60
การเตรียมตัวสอบ
ในส่วนการสอบวิชาเฉพาะตำแหน่ง ควรอ่านให้มากๆ ศึกษาทำความเข้าใจเกี่ยวกับวิชาตำแหน่งให้ดี ข้อสอบจะเป็นระเบียบข้อกฏหมาย วิชากฎหมายก็อ่านฉบับเต็ม  ท่องให้ได้ทุกมาตราอย่าไปอ่านเเต่ช้อย มันไม่ตรงนัก  ฝึกลองวิเคราะห์ข้อสอบ หาปากกาเน้นข้อความมาขีดเพื่อจำง่าย แล้วสรุป หรือท่องให้ได้  ฝึกทำข้อสอบเก่า  โดยเฉพาะในเรื่องที่เป็นจุดบกพร่องของเราทำซ้ำๆจนเข้าใจ
ควรอ่านเนื้อหาที่จะออกสอบในประกาศ และดูเวลาว่าเหลือเวลากี่วันที่จะต้องสอบ และนำเนื้อหาการสอบมาทำความเข้าใจว่าแต่ละเรื่องเกี่ยวข้องกับอะไรบ้าง  ค้นหาเนื้อหาแต่ละเนื้อหารวบรวมทุกสิ่งอย่างที่คิดว่าเกี่ยวข้องและจำเป็น แล้วแยกใส่ในแฟ้มงานเป็นหมวดๆ เมื่อได้เนื้อหาครบหมดแล้ววิเคราะห์ว่าแต่ละเนื้อหาใช้เวลาในการอ่านเท่าไหร่ แล้วนำผลรวมออกมาเทียบกับเวลาที่เรามีในการเตรียมตัวสอบ จากนั้นนำเวลามาถัวเฉลี่ย ให้ความหนักเบากับวิชาที่จะสอบ ว่าวิชาไหนเรื่องไหนใช้เวลาเท่าไหร่  แล้วจัดทำตารางการอ่านหนังสือเป็นช่วงเวลาอาจจะแบ่งเป็นต่อสัปดาห์ หรือ 2 สัปดาห์ แล้วนำมาแปะไว้ที่ไหนก็ได้ที่เราสังเกตเห็นได้ชัด  ในการอ่านแต่ละวิชาควรอ่านอย่างน้อย 2 รอบ รอบแรกเป็นการอ่านรวมๆ เพื่อหาว่าจุดไหนสำคัญบ้างให้นำปากกาเน้นคำ Mark ไว้ รอบที่สอง จดบันทึกสิ่งที่เรา Mark ไว้ สรุปเป็นภาษาของเราเองเพื่อเอาไว้อ่านก่อนสอบ 1 วัน  และก่อนนอนนั่งสมาธิอย่างน้อย 5 นาที สวดมนต์ด้วยก็ยิ่งดี   นอกจากนี้ควรศึกษาเส้นทางการสอบ ห้องสอบให้ดี พอถึงสนามสอบให้ตรวจดูห้องสอบหรือนั่งหน้าห้องสอบรอเลยก็ได้ เพื่อป้องกันความกังวลใจ หรือเรื่องรบกวนใจ  เมื่อใกล้จะสอบควรงดการพูดจาเรื่อยเปื่อย คุยสนุกเรื่องอื่น กับเพื่อนที่ร่วมสอบ หรือใครก็ตามอย่างน้อย 1 ชั่วโมง เพื่อป้องกันสมองไปจำอย่างอื่น ให้คิดแต่เรื่องสอบอย่างเดียว
นอกจากนี้ควรหาความรู้เกี่ยวกับหน่วยงานด้วย  เช่น ประวัติ วิสัยทัศน์  พันธกิจ ค่านิยม ผู้บริหาร หน้าที่ความรับผิดชอบ  โดยการหาข้อมูลจากอินเตอร์เน็ต  และความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับการเมือง เศรษฐกิจ สังคม  
นอกจากวิชาการที่ต้องใช้ตามวุฒิที่จะรับแล้ว ยังต้องทำการบ้านด้วยว่าหน่วยงานนั้นมีการแบ่งองค์กรยังไง ผู้บริหารเป็นใครในแต่ละระดับ แต่ละส่วนขององค์กรทำงานอะไร มีหน้าที่อะไร ตำแหน่งที่เราจะบรรจุมีหน้าที่อะไร ไปที่หน่วยงานนั้น ถ้ามีห้องสมุดหรือเอกสารเผยแพร่ควรไปอ่านให้หมด ปัจจุบันมีประเด็นที่เกี่ยวข้องกับหน่วยงานหรือตำแหน่งที่จะทำหรือไม่ อย่างไร
ส่วนในการสอบสัมภาษณ์เป็นการสอบด้วยการสนทนาหรือพูดคุยกัน ดังนั้นผู้เข้าสอบควรจะทบทวนเตรียมความรู้หรือข้อมูลในส่วนที่เป็นวิชาการหรือเนื้อหาต่าง ๆ   ที่ได้เตรียมไว้แล้วในการเตรียมตัวเข้าสอบข้อเขียน   ซึ่งอาจจะใช้เวลาครั้งละ 10 – 30 นาที   แล้วแต่กรณี หรืออาจกล่าวอีกนัยหนึ่งว่า การเตรียมตัวเข้ารับการสอบสัมภาษณ์จำเป็นต้องทบทวนความรู้ และข้อมูลบางประการมิใช่เข้าสอบโดยมิได้ทบทวนความรู้หรือข้อมูลอะไรเลย  การสัมภาษณ์เป็นการพูดคุยกัน  ไม่ต้องเครียด ต้องแสดงความจริงใจ อย่าเสแสร้ง กรรมการจะดูกริยา ลักษณะการพูดจาเป็นว่าเป็นอย่างไรบ้าง เนียมไม่เนียม  สำคัญจุดแรกที่กรรมการจะพิจารณาคือการแต่งกายของผู้เข้าสัมภาษณ์ ดูดี สะอาด ผมรัดผูกให้สวยงาม แต่งหน้าแต่พองาม  พูดให้เป็นธรรมชาติที่สุด  อย่าพาใครไปเป็นเพื่อน
ในการสัมภาษณ์ควรทำใจให้สบาย ตอบคำถามแบบธรรมขาติ เป็นตัวของตัวเอง  โดยส่วนใหญ่กรรมการจะถามคำถามต่อไปนี้ คือ 1. ให้แนะนำตัวเอง   2.เหตุผลในการตัดสินใจเข้ารับราชการ   3. เล่าถึงประสบการณ์ในการทำงาน




วิชาที่ใช้สอบ มีดังนี้คือ
1. ความรู้ความสามารถเฉพาะตำแหน่ง  ( 200  คะแนน )
- ความรู้เกี่ยวกับสำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.)  ความรู้เกี่ยวกับวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
- ความรู้เฉพาะเกี่ยวกับงานที่ปฏิบัติ
2. การสอบสัมภาษณ์   ( 100  คะแนน )  เป็นการทดสอบเพื่อวัดความเหมาะสมกับตําแหน่งที่จะบรรจุและแต่งตั้งโดยวิธีการสัมภาษณ์หรือวิธีอื่นเพื่อประเมินความเหมาะสมกับตําแหน่งจากประวัติส่วนตัว ประวัติการศึกษา  ประวัติการทํางานประสบการณ์ ท่วงทีวาจา อุปนิสัย อารมณ์ ทัศนคติการปรับตัวเข้ากับผู้ร่วมงาน สังคมและสิ่งแวดล้อม ความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ ปฏิภาณไหวพริบ บุคลิกภาพและพฤติกรรมของผู้สอบแข่งขันเพื่อให้ได้บุคคลที่มีคุณธรรม จริยธรรม ความรู้ความสามารถ ทักษะ สมรรถนะ และอื่นๆ ที่จําเป็นสําหรับตําแหน่ง
ทั้งนี้ กําหนดให้ผู้สมัครสอบ ต้องสอบความรู้ความสามารถเฉพาะตําแหน่งก่อนผ่านก่อน โดยมีคะแนนไม่ต่ำกว่าร้อยละ  60  จึงจะมีสิทธิเข้าสอบภาคความเหมาะสมกับตําแหน่ง

รายละเอียดวิชาที่สอบ
1. ความรู้เกี่ยวกับสำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ
2. สรุปสาระสำคัญของประชาคมอาเซียน
3. แนวข้อสอบความรู้การเมือง การเมือง เศรษฐกิจ สังคม ประชาคมอาเซียน
4. แนวข้อสอบวิชาภาษาอังกฤษ การใช้ Grammar
5. แนวข้อสอบการใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์สำนักงาน
6. เทคนิคการสอบสัมภาษณ์

ตำแหน่งที่สอบ
เจ้าหน้าที่ประสานงานทั่วไป
 เจ้าหน้าที่พัฒนาธุรกิจ
นักกฎหมาย
นักพัฒนาองค์กร
นักวิเคราะห์นโยบายและแผน
นักวิเคราะห์แผนงานติดตามและประเมินผล
ผู้ช่วยผู้จัดการงานขายและบริการ